ดุลการชำระเงิน

ความหมาย

 

 

 

 

 

 

 

วัตถุประสงค์ของการจัดทำดุลการชำระเงิน

1. ใช้ในการพิจารณารายรับ รายจ่ายของเงินตราต่างประเทศ เพื่อช่วยวางแผนเศรษฐกิจของประเทศ

2. ใช้คาดคะเนศักยภาพของตลาด (Market Potential)

3. ใช้ประกอบการวางนโยบายการเงินและการคลังของประเทศ (Monetary and Fiscal Policies)

 

 

การบัญชีของดุลการชำระเงิน

 

 

 

 

 

  • รายการรับเงิน (+) และรายการจ่ายเงิน (-) ในบัญชีดุลการชำระเงิน
  • รายการรับเงิน รายการจ่ายเงิน
    • การส่งสินค้าออก
    • เงินบริจาคเอกชนและรัฐบาลต่างประเทศ
    • การใช้บริการขนส่งของประเทศไทยโดยชาวต่างประเทศ
    • ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ
    • ค่าใช้จ่ายทางการทหารของรัฐบาลต่างประเทศ
    • ดอกเบี้ยและเงินปันผลรับจากชาวต่างประเทศ
    • การขายสินทรัพย์ในประเทศให้แก่ชาวต่างประเทศ
    • เงินฝากของชาวต่างประเทศที่ฝากในสถาบันการเงิน
    • การขายทองคำให้แก่ขาวต่างประเทศ
    • การขายเงินตราของประเทศให้แก่ชาวต่างประเทศ
    • การสั่งสินค้าเข้า
    • เงินบริจาคให้แก่เอกชนและรัฐบาลต่างประเทศ
    • การใช้บริการขนส่งของต่างประเทศ
    • ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวในต่างประเทศ
    • ค่าใช้จ่ายทางการทหารของรัฐบาลในต่างประเทศ
    • ดอกเบี้ยและเงินปันผลจ่ายให้แก่ชาวต่างประเทศ
    • การซื้อสินทรัพย์ต่างประเทศ
    • เงินฝากที่ฝากในสถาบันการเงินต่างประเทศภายในประเทศ
    • การซื้อทองคำจากชาวต่างประเทศ
    • การซื้อเงินตราต่างประเทศโดยคนในประเทศ

     

    โครงสร้างและองค์ประกอบของดุลการชำระเงิน

    1. บัญชีเดินสะพัด (Current account)

     

    2. บัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย (Capital Account)

    เงินลงทุนโดยตรง

    เงินลงทุนในหลักทรัพย์

    เงินกู้ยืม

    สินเชื่อการค้า

  • เงินทุนรัฐบาล (เงินทุนทางการ)
  • เงินกู้จากต่างประเทศ

    สินเชื่อจากต่างประเทศ

     

    3. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International reserve account)

    ขนาดของทุนสำรองระหว่างประเทศ : ขนาดที่เหมาะสมจะต้องเพียงพอกับความต้องการในอนาคต ซึ่งเป็นไปตามปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น

  • ฯลฯ
  •  

    4. บัญชีผิดพลาดคลาดเคลื่อน (Error and omission)

    การเก็บตัวเลขธุรกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมดที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศอาจมีการขาดตก ผิดพลาด หรือมีการหลีกเลี่ยงการเปิดเผยข้อมูล ทำให้ประมาณการเปลี่ยนแปลงทุนสำรองในช่วงเวลานั้นๆ ไม่ได้แสดงธุรกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมดอย่างแท้จริง จึงต้องมีการปรับรายการคลาดเคลื่อนดังกล่าว เพื่อให้ยอดรวมของธุรกรรมทางเศรษฐกิจมีค่าเท่ากับการเปลี่ยนแปลงของทุนสำรองระหว่างประเทศ

    ดุลย่อยๆ ซึ่งประกอบอยู่ในดุลการชำระเงิน

    1. ดุลการค้า (Balance of Trade)

     

    2. ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current account balance)

     

    3. ดุลรวม (Overall balance)

     

    ดุลการชำระเงินที่ไม่สมดุล

    สาเหตุของการขาดดุลการชำระเงิน

  • 1. การขาดดุลการชำระเงินอย่างเรื้อรัง เนื่องจากความล้าหลังด้านเทคโนโลยีการผลิต ทำให้ผลผลิตต่ำ ขายสินค้าออกได้น้อย ความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศต่ำ

    2. การขาดดุลการชำระเงินเนื่องจากการเพิ่มปริมาณเงินมากเกินไป ในขณะที่จำนวนผลิตเพิ่มไม่ทัน ทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ สินค้าออกมีราคาสูงขึ้นในสายตาของผู้ซื้อชาวต่างประเทศ ทำให้ขายสินค้าออกได้น้อยลง ขณะที่การนำเข้ามีสูงขึ้น เนื่องจากราคาสินค้าเข้าถูกลงในสายตาของผู้ซื้อในประเทศ

    3. การขาดดุลการชำระเงินเนื่องจากภาวะของอุปสงค์รวมมากกว่าอุปทานรวม

    4. การขาดดุลการชำระเงินเป็นการชั่วคราว เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหัน เช่น ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ ความวุ่นวายทางการเมือง การนัดหยุดงาน เป็นต้น

  •  

    ผลกระทบของดุลการชำระเงินที่ไม่สมดุล

     

    ผลกระทบของดุลการชำระเงินที่ไม่สมดุลต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

     

    เป็นหน้าที่ของรัฐบาลในการจัดการให้ดุลการชำระเงินของประเทศอยู่ในสภาวะสมดุลตลอดเวลา หรืออย่างน้อยให้ใกล้เคียงกับสภาวะสมดุล และในการรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราให้มีเสถียรภาพ รัฐบาลจะเข้าแทรกแซงค่าเงินโดยการซื้อหรือขายเงินตราต่างประเทศในตลาด เพื่อปรับระดับของอุปสงค์หรืออุปทานจนเกิดความสมดุลในดุลการชำระเงิน และทำให้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราอยู่ในระดับคงที่

     

    เมื่อเกิดความไม่สมดุลของดุลการชำระเงิน จะส่งผลให้อัตราแลกเปลี่ยนมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติ นั่นคือ กรณีดุลการชำระเงินเกินดุล ซึ่งมีเงินตราต่างประเทศเข้ามาในประเทศจำนวนมาก ดังนั้น ค่าของเงินสกุลท้องถิ่นจะแข็งค่าขึ้น ส่งผลให้การส่งออกลดลง ในขณะที่การนำเข้าเพิ่มมากขึ้น ทำให้การเกินดุบการชำระเงินลดลงและในที่สุดจะปรับตัวเข้ามาสู่จุดสมดุล โดยรัฐบาลไม่ต้องใช้มาตรการแทรกแซงแต่อย่างใด

    หากเป็นกรณีดุลการชำระเงินขาดดุล เงินตราต่างประเทศไหลออกนอกประเทศ เป็นผลให้ค่าของเงินสกุลท้องถิ่นอ่อนค่าลง ซึ่งนับเป็นการช่วยกระตุ้นการส่งออกของประเทศ ขณะที่การนำเข้าจะชลอตัวลงเพราะสินค้านำเข้าราคาแพงขึ้น ทำให้การขาดดุลการชำระเงินลดลง ในที่สุดดุลการชำระเงินเข้าสู่สภาวะสมดุลโดยรัฐบาลไม่ต้องใช้มาตรการแทรกแซงแต่อย่างใดเช่นกัน

     

    รัฐบาลจะใช้นโยบายการเงินเป็นเครื่องมือ เช่นการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเพื่อควบคุมการไหลเข้า-ออกของเงินทุน เพื่อปรับสภาวะการไม่สมดุลในดุลการชำระเงิน อย่างไรก็ตามวิธีการปรับอัตราดอกเบี้ยนี้มีผลต่อต้นทุนในการประกอบการของธุรกิจด้วย

    ______ _______________________

    Balance of Payments (Summary)

    (Millions of Baht)
     
                       

    1999

           
    Line  

    Mar.p

    Jun.p

    Jul.p

    Aug.p

    Sep.p

    Oct.p

    Nov.p

    Dec.p

    Jan.p

    Feb.p

    Mar.p

    Apr.p

    Line

    1

    Exports (f.o.b.)

    194,242

    189,967

    187,532

    175,502

    180,472

    171,147

    159,444

    164,426

    145,298

    151,786

    173,559

    164,175

    1

    2

    (% change)

    53.5

    59.0

    31.2

    13.1

    0.0

    -11.2

    -15.0

    -26.7

    -35.5

    -24.5

    -10.6

    -2.1

    2

    3

    Imports (c.i.f.)

    148,082

    150,720

    147,658

    136,738

    130,312

    129,588

    121,633

    119,905

    116,507

    116,295

    138,079

    138,265

    3

    4

    (% change)

    -0.6

    5.3

    -7.1

    -20.9

    -24.5

    -23.5

    -21.3

    -32.6

    -34.7

    -21.6

    -6.8

    -1.0

    4

    5

    Trade balance

    46,160

    39,247

    39,874

    38,764

    50,160

    41,559

    37,811

    44,521

    28,791

    35,491

    35,480

    25,910

    5

    6

    Net services & transfers

    14,840

    -3,200

    8,800

    7,800

    -5,600

    7,000

    3,580

    8,000

    15,200

    14,600

    -1,600

    9,000

    6

    7

    Current account balance

    61,000

    36,047

    48,674

    46,564

    44,560

    48,559

    41,391

    52,521

    43,991

    50,091

    33,880

    34,910

    7

    8

    Capital and financial account

    19,542

    -51,795

    -28,646

    -44,881

    -7,168

    -30,559

    -10,642

    -29,955

    -80,340

    -49,597

    19,196

    -6,211

    8

    9

    Private

    -27,938

    -84,920

    -42,344

    -53,645

    -32,401

    -91,570

    -72,701

    -72,144

    -112,324

    -59,225

    -42,195

    -63,936

    9

    10

    Public

    23,664

    9,919

    21,964

    2,908

    1,856

    16,834

    3,619

    463

    4,172

    3,561

    51,356

    22,436

    10

    11

    Monetary authorities 1/

    23,816

    23,206

    -8,266

    5,856

    23,377

    44,177

    58,440

    41,726

    27,812

    6,067

    10,035

    35,289

    11

    12

    Net errors & omissions

    -9,849

    -18,393

    -9,117

    -8,984

    -22,188

    -4,991

    -484

    -15,562

    20,037

    -2,295

    -4,225

    -20,109

    12

    13

    Balance of payments

    70,693

    -34,141

    10,911

    -7,301

    15,204

    13,009

    30,265

    7,004

    -16,312

    -1,801

    48,851

    8,590

    13

    ----- -------------------------------------- ---------- ---------- ---------- ---------- ---------- ---------- ---------- ---------- ---------- ---------- ---------- ---------- -----


    1/ Including Bank of Thailand's borrowing and other offshore transactions.
    Source : Bank of Thailand

    Updated Date : July 15, 1999
    By: Economic Research Department